ประวัติความเป็นมาพระพุทธศาสนาและพระกรรมฐานในประเทศไทย

ประวัติความเป็นมาพระพุทธศาสนาและพระกรรมฐานในประเทศไทย

ปริยัติธรรม

ประวัติความเป็นมา พระพุทธศาสนาในประเทศไทย ดินแดนสุวรรณภูมิ
พระเจ้าอโศกมหาราช ทรงอุปถัมภ์การสังคายนาครั้งที่ ๓
พระเจ้ากนิษกะมหาราช ทรงอุปถัมภ์สังคายนาครั้งที่ ๔ ขุนหลวงเม้า กษัตริย์ไทยผู้ครองอาณาจักรอ้ายลาว
กษัตริย์แห่งศรีวิชัย เจดีย์พระธาตุไชยาและพระมหาธาตุนครศรีธรรมราช
กษัตริย์กัมพูชา ราชวงศ์สุริยวรมัน เมืองละโว้หรือลพบุรี
พระเจ้าอนุรุทธมหาราช หรืออโนรธามังช่อ ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
พ่อขุนรามคําแหง พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ พระพุทธสิหิงค์
พระเจ้าลิไท ทรงพระราชนิพนธ์หนังสือ เตภูมิกถา หรือ ไตรภูมิพระร่วง
พระเจ้ากือนา หรือตื้อนา หรือกือนาธรรมิราช พุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ในล้านนา สร้างพระธาตุดอยสุเทพ
พระเจ้าติโลกราช การสังคายนาครั้งที่ ๑ ของประเทศไทย
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ประเพณีบวชเรียนของเจ้านายและข้าราชการ มหาชาติคําหลวง
พระเจ้าทรงธรรม ประเพณีบอกหนังสือพระในพระบรมมหาราชวังได้มีมานานแล้ว
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ประเพณีการบวชเรียนคงจะได้รับความนิยมกันมามาก
พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยนี้เกิดวรรณคดี นันโทปนันทสูตร พระมาลัยคําหลวง ปุณโณวาทคําฉันท์ และพระราชปุจฉาถามคณะสงฆ์
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช คัดลอกพระไตรปิฎกลงในใบลาน อัญเชิญพระแก้วมรกตมาแต่เมืองเวียงจันทน์
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก สังคายนาครั้งที่ ๙ เสร็จแล้วคัดลอกสร้างเป็นพระไตรปิฎกฉบับหลวง เรียกว่า ฉบับทองใหญ่
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระราชดําริกับด้วย สมเด็จพระสังฆราช (มี) ให้ทํา พิธีวิสาขบูชา เป็นครั้งแรกในกรุงรัตนโกสินทร์เป็นนักขัตตฤกษ์ใหญ่ของปี
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้แปลพระไตรปิฎกเป็นภาษาไทย โดยเฉพาะในส่วนพระสูตรไว้มาก
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดให้มี พิธีมาฆบูชา ขึ้นเป็นครั้งแรก ทรงสร้างพระไตรปิฎกฉบับล่องชาด
หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล พระปรมาจารย์กรรมฐาน ท่านเจริญเดินตามทางที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ทุกประการ คือมี เมตตา กรุณามุทิตา และ อุเบกขา และรื้อสัตว์ขนสัตว์ให้ได้รู้บาปบุญคุณโทษทั้งปวง
หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต พระกรรมฐานสายวัดป่า หรือ พระกรรมฐานสายหลวงปู่มั่น อวิชชา ปจฺจยา สฺงขารา
หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต อุบายแห่งวิปัสสนา อันเป็นเครื่องถ่ายถอนกิเลส
หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งหลายไม่ใช่ตน ญาณสัมปยุตต์ วิมฺตติธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต จิตเดิมเป็นธรรมชาติใสสว่าง แต่มืดมัวไปเพราะอุปกิเลส การทรมานตนของผู้บำเพ็ญเพียร ต้องให้พอเหมาะกับอุปนิสัย
หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต มูลติกสูตร ราคะ โทสะ โมหะ วิสุทธิเทวาเท่านั้นเป็นสันตบุคคลแท้
หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต อกิริยาเป็นที่สุดในโลก สุดสมมติบัญญัติ ฐีติจิต ฐีติธรรมอันไม่รู้จักตาย
หลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่ท่านมีเมตตาธรรมเป็นเลิศ มีสมาธิดี มีพลังจิตสูงเปี่ยมด้วยเมตตา
หลวงปู่ดูลย์ อตุโล อริยสัจแห่งจิต เมื่อสังขารขันธ์ดับไปแล้ว ความเป็นตัวตนจักไม่มี จิตส่งออกนอก เพื่อรับสนองอารมณ์ทั้งสิ้น เป็นสมุทัย ผลอันเกิดจากจิตที่ส่งออกนอกแล้วหวั่นไหว เป็นทุกข์ จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง เป็นมรรค ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง เป็นนิโรธ
หลวงปู่ดูลย์ อตุโล จิตคือพุทธะ จงทำญาณให้เห็นจิต เมื่อเห็นจิตได้ก็จะสามารถแยกรูป ถอดด้วยวิชชามรรคจิต เพื่อที่จะแยกรูปกับกายให้อยู่คนละส่วน แล้วจะเข้าใจพฤติของจิตได้ในลำดับต่อไป
หลวงปู่ขาว อนาลโย พอจวนสว่างจึงตัดสินใจกันลงได้ด้วยปัญญาอวิชชาขาดกระเด็นออกจากใจไม่มีอะไรเหลือ  การพิจารณาข้าวก็มายุติกันที่ข้าวสุก  หมดการงอกอีกต่อไป
หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม การนั่งสมาธิภาวนานี้มีอานิสงส์มาก เป็นวิธีแก้จิตที่บาปให้กลับเป็นบุญได้ ตลอดแก้จิตที่เป็นโลกีย์ให้เป็นโลกุตตระได้
หลวงปู่ฝั้น อาจาโร ท่านไม่ได้ว่าอะไรทุกข์ คือความเกิดนั่นแหละเป็นทุกข์
หลวงปู่หลุย จนฺทสาโร กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ม้างกาย
หลวงปู่ชอบ ฐานสโม ให้พิจารณาความตาย (มรณานุสติ) “นั่งก็ตาย นอนก็ตาย ยืนก็ตาย เดินก็ตาย” ทุกคนมีความตายเป็นที่สุด ตายทุกเพศทุกวัย ตายได้ทุกกาลเวลา
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี วิปัสสนานั้น ไม่ว่าจะพิจารณาคำบริกรรม หรือธรรมทั้งหลาย มีธาตุ ๔ ขันธ์๕ อายตนะ เป็นต้น พิจารณาให้รู้แจ้งตามเป็นจริงของมันแล้วปล่อยวาง แล้วเข้าอยู่เป็นกลางวางเฉย เรียกว่าวิปัสสนา
หลวงปู่ดู่ พฺรหฺมปญฺโญ การบวชจิตบวชใน ปฏิบัติแล้วโกรธ โลภ หลง ของแกลดน้อยลงหรือเปล่าล่ะ ถ้าลดลงข้าก็ว่าแกใช้ได้
หลวงปู่หล้า เขมปัตโต ใจไม่ใช่ตน ตนมิใช่ใจ ผู้รู้เป็นสังขารอันละเอียด
หลวงตามหาบัว ญาณสมฺปนฺโน ปล่อยคำว่า รูปเป็นเรา เวทนาเป็นเรา สัญญาเป็นเรา สังขารเป็นเรา วิญญาณเป็นเรา ปล่อยออกไป เราไม่ใช่อาการห้านี้ อาการห้านี้ไม่ใช่เราเห็นประจักษ์
สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) ขันธ์ ๕ เป็นอนัตตา ไม่ตรัสว่าจิตเป็นอนัตตา
หลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโท พอจิตวางปั๊บ จิตมีอิสรภาพอย่างสูงสุด ปล่อยวางสังขารโลก คว่ำวัฏจักร วัฏจิต แหวกอวิชชาและโมหะอันเป็นประดุจตาข่าย ด้วยการฮุกหมัดเด็ดคือวิปัสสนาญาณ เข้าปลายคาง อวิชชาถึงตายไม่มีวันฟื้น
พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) หลวงพ่อฤๅษี วัดท่าซุง เมื่อจิตสงบแล้วจะพิจารณาตอนไหน
หลวงปู่ชา สุภทฺโท สงบจากสมาธิอันหนึ่ง สงบจากปัญญาอันหนึ่ง
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความทุกข์ทั้งมวลมีมูลรากมาจากตัณหาอุปาทาน, ดูกรภิกษุทั้งหลาย ! เธอจงมองดูโลกนี้โดยความเป็นของว่างเปล่า

พิมพ์