สิ่งที่ควรทำ

มัคคสมังคี

มัคคสมังคี

มรรคมีองค์ ๘ หรืออัฏฐิงคิกมรรค นี้ เมื่อเจริญพรั่งพร้อมถึงที่ ก็จะถึงขีดและถึงขณะหนึ่ง ซึ่งองค์มรรคทั้งหมดร่วมกัน ( มัคคสมังคี ) ทําหน้าที่ ให้เกิดญาณอันแรงกล้าสว่างขึ้นมาหยั่งเห็นสัจธรรม และกําจัดกวาดล้างกิเลสที่หุ้มห่อบีบคั้นจิตออกไป

วิสุทธิ ๗

วิสุทธิ ๗

สติปัฏฐาน ๔ เป็นหลักการภาวนาตามมหาสติปัฏฐานสูตร เป็นข้อปฏิบัติเพื่อรู้แจ้ง คือเข้าใจตามเป็นจริงของสิ่งทั้งปวงโดยไม่ถูกกิเลสครอบงำ สติปัฏฐานมี ๔ อย่าง การตามอนุปัสสนาในกาย เวทนา จิต และธรรม

ความหมายของบุญและบารมี

ความหมายของบุญและบารมี

คำว่า บุญ แปลตามศัพท์ว่า ชำระ ฟอก ล้าง ท่านแสดงว่า แบ่งเป็น ๒ ก่อน คือบุญที่เป็นส่วนเหตุ ได้แก่ ความดีต่าง ๆ เรียกว่าเป็นบุญ เพราะเป็นเครื่องชำระ ฟอกล้าง ความชั่ว ๑ บุญที่เป็นส่วนผล คือความสุข ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า  "ท่านทั้งหลาย อย่ากลัวต่อบุญเลย เพราะคำว่าบุญนี้เป็นชื่อของความสุข" 

บารมี ๑๐

บารมี ๑๐

ปฏิปทาอันยวดยิ่ง, คุณธรรมที่ประพฤติปฏิบัติอย่างยิ่งยวด คือ ความดีที่บําเพ็ญอย่างพิเศษ เพื่อบรรลุถึงจุดหมายอันสูง เช่น ความเป็นพระพุทธเจ้า และความเป็นมหาสาวก เป็นต้น

บันได ๑๐ ขั้น สู่อรหันต์

บันได ๑๐ ขั้น สู่อรหันต์

“เส้นทางอรหันต์” ไม่ใช่เส้นทางของใครคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นเส้นทางที่เปิดกว้างสำหรับทุกคน  ตลอดเวลาเท่ากาลเวลาของสังสารวัฏ เส้นทางบรรลุธรรมไม่เคยหนีหายหรือเปลี่ยนแปลงไป  เพราะตราบใดที่มนุษย์ยังคงคุณงามความดี ตราบนั้นโลกนี้ไม่ร้างจาก “พระอรหันต์”

ทาน การให้ การแบ่งปัน การเสียสละ

ทาน การให้ การแบ่งปัน การเสียสละ

การทำทาน ได้แก่การสละทรัพย์สิ่งของสมบัติของตนที่มีอยู่ให้แก่ผู้อื่น โดยมุ่งหวังจะจุนเจือให้ผู้อื่นได้รับประโยชน์และความสุขด้วยความเมตตาจิตของตน

ศีล สิ่งหรือกติกาที่บุคคลจะต้องระวังรักษาตามเพศและฐานะ

ศีล สิ่งหรือกติกาที่บุคคลจะต้องระวังรักษาตามเพศและฐานะ

ศีลนั้นมีหลายระดับคือ ศีล๕ ศิล ๘ ศิล ๑๐ และ ศีล ๒๒๗ และในบ รรดาศีลชนิดเดียวกันก็ยังจัดแบ่งออกเป็นระดับธรรมดา มัชฌิมศีล ( ศีลระดับกลาง ) และอธิศีล ( ศีลอย่างสูง ศีลอย่างอุกฤษฏ์ )

จงรักษาอินทรีย์ทั้งหลาย - ฝนย่อมรั่วรดเรือนที่มุงไม่ดี ฉันใด ราคะย่อมจะรั่วไหล ไปสู่จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว ฉันนั้น

จงรักษาอินทรีย์ทั้งหลาย - ฝนย่อมรั่วรดเรือนที่มุงไม่ดี ฉันใด ราคะย่อมจะรั่วไหล ไปสู่จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว ฉันนั้น

จงรักษาอินทรีย์ ที่รูป, เสียง, กลิ่น, รสและผัสสะ ทั้งหลาย เพราะว่า ทวารเหล่านี้ถูกเปิดทิ้งไว้ไม่รักษา ย่อมจะถูกโจรคือกิเลสปล้นเอา เหมือนพวกโจรปล้นบ้าน ฉะนั้น

อุเบกขา ๑๐ ประเภท

อุเบกขา ๑๐ ประเภท

ความวางเฉยแบบวางใจเป็นกลางๆ โดยไม่เอนเอียงเข้าข้างเพราะชอบ เพราะชัง เพราะหลงและเพราะกลัว เช่น ไม่เสียใจเมื่อคนที่ตนรักถึงความวิบัติ หรือไม่ดีใจเมื่อศัตรูถึงความวิบัติ มิใช่วางเฉยแบบไม่แยแสหรือไม่รู้ไม่ชี้ ทั้งๆ ที่สามารถช่วยเหลือได้

สติปัฏฐาน ๔

สติปัฏฐาน ๔

สติปัฏฐาน ๔ เป็นหลักการภาวนาตามมหาสติปัฏฐานสูตร เป็นข้อปฏิบัติเพื่อรู้แจ้ง คือเข้าใจตามเป็นจริงของสิ่งทั้งปวงโดยไม่ถูกกิเลสครอบงำ สติปัฏฐานมี ๔ อย่าง การตามอนุปัสสนาในกาย เวทนา จิต และธรรม

สมถกัมมัฏฐาน

สมถกัมมัฏฐาน

สมถกรรมฐาน หมายถึง กรรมฐานอันเป็นอุบายสงบใจ ซึ่งคู่กับวิปัสสนากรรมฐานอันเป็นอุบายเรืองปัญญา สมถกรรมฐาน คือ วิธีการในอันที่จะเพิ่มพูนสมาธิ คู่กับ วิปัสสนากรรมฐาน คือวิธีการในอันที่จะเพิ่มพูลสติ

วิปัสสนากัมมัฏฐาน

วิปัสสนากัมมัฏฐาน

วิปัสสนากรรมฐาน หมายถึง การเห็นแจ้ง การเห็นด้วยอาการต่างๆ หรือ อาการหลายอย่าง และยังเป็นปัญญาที่เข้าไปเห็นแจ้งรูปนาม พระไตรลักษณ์ อริยสัจ และมรรค ผล นิพพาน

วิปัสสนาญาณ ๑๖

วิปัสสนาญาณ ๑๖

วิปัสสนาญาณ ๑๖ เป็นญาณที่เกิดแก่ผู้บำเพ็ญวิปัสสนา โดยลำดับตั้งแต่ต้น จนถึงจุดหมายคือมรรคผลนิพพาน

วิปัสสนาญาณ ๙

วิปัสสนาญาณ ๙

วิปัสสนาญาณ ๙ คือ เป็นความรู้ที่ทำให้เกิดความเห็นแจ้ง เข้าใจสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามเป็นจริง

ญาณ ๗๓

ญาณ ๗๓

ญาณ ๗๓

บรรลุนิพพาน

Nirvana Attain (บรรลุนิพพาน) จัดทำขึ้นเพื่อเป็นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามหน้าที่ของเราชาวพุทธบริษัท เพื่อหวังสืบทอดหลักธรรมคำสอนของพระพุทธองค์และพระอริยสงฆ์สาวกให้สืบต่อออกไปนานที่สุด โดยเนื้อหาจะประกอบด้วย "ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ" เพื่อให้ครบถ้วนสมบูณ์ในทุกแง่ของพระธรรมคำสอน โดยหวังว่าท่านทั้งหลายจะได้รับรสพระธรรมที่ถูกต้อง เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติให้เจริญก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นไป

ค้นหาข้อมูล